อุปสงค์
ความหมายของอุปสงค์ เป็นความต้องการของผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้าและบริการในราคาที่กำหนด
ปัจจัยทำให้เกิดอุปสงค์
1. ราคาของสินค้าและบริการ
2. รายได้ของผู้บริโภค
3. รสนิยมของผู้บริโภค
4. ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง
5. ฤดูกาล
2. รายได้ของผู้บริโภค
3. รสนิยมของผู้บริโภค
4. ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง
5. ฤดูกาล
กฎอุปสงค์
ราคาสินค้าสูง อุปสงค์ต่ำ
ราคาสินค้าต่ำ อุปสงค์สูง
อุปทาน
เป็นความสามารถในการผลิตหรือเสนอขายสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้อง
การของผู้บริโภค
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุปทาน
1.กรรมวิธีในการผลิต
2. ราคาของปัจจัยการผลิต
3. การคาดคะเนของราคาสินค้า
4. ภาษีหรือเงินช่วยเหลือ
กฎอุปทาน
ราคาสินค้าสูง อุปทานสูง
ราคาสินค้าต่ำ อุปทานต่ำ
ถ้าอุปสงค์มากกว่าอุปทาน
เรียกว่าอุปสงค์ส่วนเกินหรืออุปทานส่วนขาด ราคาสินค้าจะสูง
ทำให้เกิดภาวะขาดตลาด
ถ้าอุปทานมากกว่าอุปสงค์
เรียกว่าอุปทานส่วนเกินหรืออุปสงค์ส่วนขาด ราคาสินค้าจะต่ำ
ทำให้เกิดภาวะขาดล้นตลาด คือของจะเหลือ
ภาวะดุลยภาพ คือ อุปสงค์เท่ากับอุปทาน
ค่าของเงิน คือ อำนาจซื้อของเงินแต่ละหน่วย เช่น ข้าวสาร 1 ถัง
ราคา 50 บาท ค่าของเงิน 1 บาท = ข้าว 1/50 ถัง
เราสามารถดูมูลค่าของเงินจากดัชนีราคา ( Price Index ) หรือราคาสินค้าทั่วไปค่าของเงิน
ดัชนีราคาสามารถดูว่าเกิดเงินเฟ้อได้หรือเปล่า
เงินเฟ้อ
ค่าของเงินต่ำ
ราคาสินค้าสูง
ประชาชนมีเงินในมือมาก
ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ราคาสินค้าสูงขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น
คนได้เปรียบ
ลูกหนี้ นายธนาคาร พ่อค้า
ประเภทขออัตราเงินเฟ้อตามหลักวิชากการจะสามารถแบ่งอัตราเงินเฟ้อได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
เงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นไม่เกิน 5% ต่อปี ซึ่งเงินเฟ้อระดับนี้ถือว่าเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศ และมักจะเกิดขึ้นกับในทุกประเทศ เพราะเป็นสภาวะปกติที่เป็นการกระตุ้นการบริโภค ที่ทำให้มีการขยายการผลิตที่มากขึ้น มีการเพิ่มการจ้างงาน รวมทั้งมีการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ขยายตัว และทำให้รายได้ของประชาชาติเพิ่มขึ้น
เงินเฟ้อปานกลาง (Moderate Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นเกิน 5% แต่ไม่สามารถเกิน 20% ต่อปี เงินเฟ้อระดับนี้จะทำให้ประชาชนเดือดร้อน เพราะผู้บริโภคจะไม่เชื่อมั่นในสภาวะเศรษฐกิจ ที่ทำให้เกิดการกักตุนสินค้า แรงงานเรียกร้องขอขึ้นค่าจ้าง จนนำไปสู่สภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรงในที่สุด รัฐบาลต้องเเก้ปัญหาด้วยการพิมพ์พันธบัตรรัฐบบาล
เงินเฟ้อรุนแรง (Hyper Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นเกิน 20% อาจจะมากถึง 100% ต่อปีเลยก็ว่าได้ แต่ส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นในสภาวะสงคราม ซึ่งเงินเฟ้อในระดับนี้จะทำให้เศรษฐกิจหยุดชะงัก ประชาชนไม่มีความเชื่อมั่นในการถือเงิน และหันไปถือทรัพย์สินในรูปแบบอื่นแทน เช่น ทองคำ หรือสิ่งของที่จับต้องได้แต่มีมูลค่า
ประเภทขออัตราเงินเฟ้อตามหลักวิชากการจะสามารถแบ่งอัตราเงินเฟ้อได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
เงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นไม่เกิน 5% ต่อปี ซึ่งเงินเฟ้อระดับนี้ถือว่าเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศ และมักจะเกิดขึ้นกับในทุกประเทศ เพราะเป็นสภาวะปกติที่เป็นการกระตุ้นการบริโภค ที่ทำให้มีการขยายการผลิตที่มากขึ้น มีการเพิ่มการจ้างงาน รวมทั้งมีการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ขยายตัว และทำให้รายได้ของประชาชาติเพิ่มขึ้น
เงินเฟ้อปานกลาง (Moderate Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นเกิน 5% แต่ไม่สามารถเกิน 20% ต่อปี เงินเฟ้อระดับนี้จะทำให้ประชาชนเดือดร้อน เพราะผู้บริโภคจะไม่เชื่อมั่นในสภาวะเศรษฐกิจ ที่ทำให้เกิดการกักตุนสินค้า แรงงานเรียกร้องขอขึ้นค่าจ้าง จนนำไปสู่สภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรงในที่สุด รัฐบาลต้องเเก้ปัญหาด้วยการพิมพ์พันธบัตรรัฐบบาล
เงินเฟ้อรุนแรง (Hyper Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาของสินค้าเพิ่มขึ้นเกิน 20% อาจจะมากถึง 100% ต่อปีเลยก็ว่าได้ แต่ส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นในสภาวะสงคราม ซึ่งเงินเฟ้อในระดับนี้จะทำให้เศรษฐกิจหยุดชะงัก ประชาชนไม่มีความเชื่อมั่นในการถือเงิน และหันไปถือทรัพย์สินในรูปแบบอื่นแทน เช่น ทองคำ หรือสิ่งของที่จับต้องได้แต่มีมูลค่า
เงินฝืด
ค่าของเงินสูง
ราคาสินค้าต่ำ
ประชาชนมีเงินในมือน้อย
จะคู่กับ
บุคคลที่ได้ประโยชน์ เจ้าหนี้ ผู้มีรายได้ประจำ
การว่างงาน
ตามปกติในตลาดแรงงาน
ซึ่งไม่ก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจขั้นรุนแรง
การว่างงานเนื่องจากโครงสร้าง
เกิดจากโครงสร้างเศรษฐกิจไม่เหมาะสม แรงงานจึงปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงไม่ได้
เช่นมีการใช้เทคโนโลยีในการผลิตอันนี้สำคัญมากๆ
หลักการสหกรณ์ที่สำคัญที่สอดคล้องกับประชาธิปไตยคือหนึ่งคนหนึ่งเสียงและมีการเลือกตั้งทุกปี
การแทรกแซงราคา
การกำหนดราคาขั้นต่ำ
-ทำเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิต / ผู้ขาย
-รับซื้อผลผลิตส่วนเกิน
-ทำให้เกิดอุปทานส่วนเกิน
การกำหนดราคาขั้นสูง
-เนื่องจากสินค้าและบริการที่จำเป็นมีราคาสูงเกินไป ทำให้มีปัญหา ตลาดมืด แก้ไขโดย
-ทำเพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค / ผู้ซื้อ
-มีผล ทำให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน
ภาษีตอนนี้ที่กำลังดังมากๆเลยที่มีทั้งคนเห็นด้วยเเละไม่เห้นด้วยกันมาก คือภาษีสรรพสามิต ที่เก็บจากสินค้าบริการเเละฟุ่มเฟื่อย มีคนเรียกิีกชื่อหนึ่งว่าภาษีบาปเพราะเก็บจากเหล้า เบบียร์ ไวน์ด้วย
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรี
ยกเลิกการเก็บภาษีและข้อจำกัดทางการค้า
สหภาพศุลกากร
กำหนดภาษีศุลกากรเท่ากันกับประเทศนอกกลุ่ม คือการเก็บภาษีนอกกลุ่มสมาชิกต้องวางหรือกำหนดอัตรากันในระหว่างกลุ่มว่า ว่าจะเก็บภาษีประเทศนี้กี่เปอร์เซ็นต์ดี
ตลาดร่วม
เคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรี
สหภาพเศรษฐกิจ
ตลาดร่วมบวกกับประกาศนโยบายเศรษฐกิจร่วมกัน เช่นมีสกุลเงินร่วมกัน
สหภาพเหนือชาติ
มีรัฐบาลกลางร่วมกัน
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก - APEC
จุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป EU
มีการใช้เงินสกุลเงินเดียวกันคือสกุลเงินยูโรเป็นการร่วมกลุ่มทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ กลุ่มนี้ก็มีบบทบาทสำคัญกับการส่งออกสินค้าเพื่อไปขายยังประเทศในกลุ่มสมาชิก EU ซึ่งนักเรียนอาจเคยได้ยินข่าวที่เขาจะคว่ำบาตรไทยซึ่งไม่เป็นความจริงก็ตามเเต่ถ้าเกิดการคว่ำบาตรจริงๆเราคงกระทบมากๆเลย