การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ
ศาสนาอิสลาม
– เรียกศาสนิกชนว่า อิสลามิกชน หรือ มุสลิม
– ผู้ทำหน้าที่เหมือนนักบวชเรียกว่า อิหม่าม
คริสต์ศาสนา
– เรียกศาสนิกชนว่า คริสต์ศาสนิกชน หรือคริสตัง
และคริสเตียน
– นักบวชคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกเรียกว่า
บาทหลวง
ศาสนาพราหมณ์–ฮินดู
– เรียกศาสนิกชนว่า พราหมณ์
เพื่อจะอยู่ร่วมกันในสังคมกับศาสนิกชนศาสนาอื่นอย่างสันติสุข
ปฏิบัติดังนี้
– ให้เกียรติและเคารพกัน
– สุภาพ
– รู้จักกาลเทศะ
– เข้าใจกัน
การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่ ๔
โต๊ะ 4 เเจกัน 4 พานดอกไม้ 2
เชิงเทียน 6 เล่ม
เเบบโต๊ะชัด เเจกัน 1 พานดอกไม้ 2 เชิงเทียน 2 เล่ม
การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่ ๕
เเบบสวยงาม โต๊ะ 5 เเจกัน 2 พานดอกไม้ 1 เชิงเทียน 2 เล่ม
การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่ ๗
เเบบพิธีการโต๊ะ 7 เเจกัน 4 พานดอกไม้ 5 เชิงเทียน 8 เล่ม หรือ 10 เล่ม
เเบบนิยม โต๊ะ 7 เเจกัน 4 พานดอกไม้ 1 เชิงเทียน 2
การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่ ๙
เเบบนิยม โต๊ะ 9 เเจกัน 4 พานดอกไม้ 3 เชิงเทียน 2
เเบบพิธีการโต๊ะ 9 เเจกัน 6 พานดอกไม้ 7 เชิงเทียน 10 เล่ม หรือ 12 เล่ม
คำอาราธนาศีล เชิญให้พระให้ศีลเเก่เรา
เพื่อให้เรารักษาศีลให้บริสุทธิ์
ขึ้นต้นด้วย มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง
จบเเล้วจะมีการสมาทานศีล ขึ้นต้นด้วย
ปาณาติปาตา
การอาราธนาธรรม เชิญพระชี้เเนะให้ทำความดีตามหลักธรรม
ขึ้นต้นด้วย พรหมา จะ โลกาธิปะตี
การอารธนาพระปริตร
เชิญให้สวดมนต์เรื่องพระพุทธานุภาพของพระพุทธเจ้า
เพื่อสร้างศิริมงคลให้เเก่เรา
ขึ้นต้นด้วย วิปัตติปฏิพาหายะ
สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ทำให้จิตใจบริสุทธิ์ผ่องใส มีความรู้เข้าใจสิ่งต่างๆ ตามจริง มีหลายวิธี
แต่วิธีที่นิยม คือ
การบริหารจิตและการเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ
สติปัฏฐาน มี 4 ประการ คือ
– การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย การยืน การนั่งสมาธิ
– การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา รู้เท่าทันความรู้สึกของตน เช่น เย็นหรือร้อน อ่อนหรือเเข็ง
– การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต ว่ายินดี ชอบใจ เศร้า
– การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม รู้ว่าิ่งนั้นดีไม่ดี
อานาปานสติ คือการกำหนดลมหายใจเข้าออก นิยม 3 วิธี คือ
– วิธีนับ
– วิธีบริกรรมแบบพุทโธ
– วิธีบริกรรมแบบพองหนอ–ยุบหนอ
การบริหารจิตตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ
วิธีปฏิบัติการบริหารจิต มีดังนี้
– เลือกสถานที่
– กำหนดเวลา
– สมาทานศีล
– บูชาพระรัตนตรัย
– แผ่เมตตา
– ตัดความกังวล
– ฝึกปฏิบัติ
ขั้นฝึกปฏิบัติของการเจริญปัญญา เมื่อจิตฝึกฝนจนสงบและมีประสิทธิภาพ ปัญญาก็จะเกิด
ซึ่งการเจริญหรือฝึกฝนอบรมตนให้เกิดปัญญามีหลายวิธีตามประเภทปัญญา ได้แก่
– สุตมยปัญญา เกิดจากการฟัง อ่าน เขียน
– จินตามยปัญญา เกิดจากการคิดตาม
– ภาวนามยปัญญา เกิดจากการปฎิบัติ เป็นปัญญาขั้นสูงสุด
ประโยชน์ของการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
– ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน ได้แก่ จิตใจสบาย
สุขภาพดี
– ด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ ได้แก่ สงบ กระฉับกระเฉง
– ด้านที่เป็นเป้าหมายสูงสุด ได้แก่ เข้าถึงนิพพาน
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การคิดพิจารณาเป็นระบบ ละเอียด รอบคอบ รอบด้าน และถูกต้อง เช่น
– วิธีคิดแบบคุณค่าแท้–คุณค่าเทียม
เป็นวิธีคิดแบบบรรเทาตัณหา ตัวอย่างคุณค่าเทียม เช่นมีรถเบนซ์ดูดีเเต่มีรถธรรมดาก็ได้
– วิธีคิดแบบคุณ–โทษและทางออก
เป็นการคิดข้อดี ข้อเสีย และทางแก้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น